ดร. ณัฏรี ศรีดารานนท์ (Nattaree Sridaranon, Ph.D.)
สังกัด: ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ติดต่อ: (662) 942-8960 (ext. 308), Fax: (662) 940-5413
E-mail: nattaree.sr@ku.th
ประวัติการศึกษา
2561 ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง) สาขาสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ทุน สกว.) โครงการวิจัยร่วมกับ College of Architecture, Texas A&M University, USA (Visiting scholar)
2554 ปริญญาโท สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (นวัตกรรมอาคาร) สาขานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2551 ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถาปัตยกรรม) ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ประวัติการทำงาน
2564 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2559 – 2564 กรรมการบริษัท Greenoxide Research and Innovation (Thailand) Co., Ltd. และอาจารย์พิเศษในหลักสูตรปริญญาโท ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2555 – 2559 สถาปนิกอิสระ และผู้ช่วยวิจัย ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2551 – 2555 สถาปนิก บริษัท Feel Your Room. Co., Ltd.
สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ
- การออกแบบอาคารตอบสนองสภาพแวดล้อมในเขตร้อนชื้น
- การพัฒนาอุปกรณ์ประกอบอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน
- การพัฒนาวัสดุประกอบอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- การจำลองสมรรถนะทางการใช้แสงธรรมชาติภายในอาคาร (Daylighting Simulation)
- หลักการเขียนและขั้นตอนการยื่นจดสิทธิบัตรทั้งในและต่างประเทศ
โครงการวิจัยที่แล้วเสร็จ
2565 ที่ปรึกษาโครงการ: “แผงป้องกันแสงและความร้อนเข้าสู่อาคารโดยตรง” ภายใต้โครงการนวัตกรรมแบบเปิด Open Innovation สาขาเศรษฐกิจการผลิตและการหมุนเวียน (พลังงานเขียว) แหล่งทุนจากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) ร่วมกับภาคเอกชน บริษัท กรีนออกไซด์ รีเสิร์ชแอนด์อินโนเวชั่น (ประเทศไทย) จำกัด จำนวนงบประมาณ 1,500,000 บาท
2564 นักวิจัยโครงการ: “โดมแสงธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสีตรงเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสภาพแวดล้อมที่ดีภายในอาคาร” ภายใต้โครงการแผนงานแพลตฟอร์มบ่มเพาะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม (Deep Science and Tech Accelerator) แหล่งทุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) ร่วมกับภาค เอกชน บริษัท กรีนออกไซด์ รีเสิร์ชแอนด์อินโนเวชั่น (ประเทศไทย) จำกัด และ บริษัท มหัศจรรย์อินดัสทรีส์ (ประเทศไทย) จำกัด จำนวนงบประมาณ 800,000 บาท
2561 นักวิจัยโครงการ: “ชุดช่องแสงและอุปกรณ์กันแดดสำหรับอาคารพักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” แหล่งทุนจากทุนอุดหนุนวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.) รหัสชุดโครงการวิจัย ป-2.3 (ด) 6.2.61 จำนวนงบประมาณ 565,000 บาท
2561 นักวิจัยโครงการ: “การผลิตและทดสอบนวัตกรรม ชุดช่องแสงและอุปกรณ์กันแดด” ภายใต้โครงการส่งเสริมให้บุคลากรวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาไปปฏิบัติงานเพื่อแก้ปัญหาและเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตให้กับภาคอุตสาหกรรม (Talent Mobility) แหล่งทุนจากสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) และสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) จำนวนงบประมาณ 422,400 บาท
2560 เข้าร่วมโครงการนักเรียนแลกเปลี่ยนและร่วมทำวิจัยใน Daylight Lab ที่ College of Architecture, Texas A&M University เมือง College Station รัฐเทกซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยการสนับสนุนทุนจากโครงการพัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรม ปริญญาเอก (พวอ.) สังกัดสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกับภาคเอกชน บริษัท มหัศจรรย์อินดัสทรีส์ (ประเทศไทย) จำกัด จำนวนงบประมาณ 1,402,000 บาท
2557 ผู้ร่วมวิจัย ภายใต้โครงการทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปีงบประมาณ 2556 แหล่งทุนจาก สวพ. มก. รหัสชุดโครงการวิจัย อ-ช 1.56 ชื่อโครงการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และวัสดุอาคารเขียว โครงการวิจัยย่อย (1/3) “การพัฒนาข้อมูลด้านแสงสว่างสำหรับชุดช่องแสงและอุปกรณ์กันแดดประหยัดพลังงาน” ร่วมกับ รศ.ดร. โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์ เป็นหัวหน้าโครงการ จำนวนงบประมาณรวม 1,400,000 บาท
ผลงานตีพิมพ์
2567 ณัฐณิชา ภมะราภา, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2567. แผ่นวัสดุดูดซับเสียงจากเส้นใยชานอ้อย. วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, ปีที่ 23, ฉบับที่ 67/2, พฤษภาคม-สิงหาคม 2567: อยู่ระหว่างดำเนินการตีพิมพ์ ISSN : 261-1185 (Online) (TCI กลุ่ม 1)
2567 กุลวดี ปิติวิทยากุล, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์, ณัฏรี ศรีดารานนท์. 2567. การพัฒนาแผ่นคอนกรีตสำเร็จรูปที่มีส่วนผสมจากผักตบชวาเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนผ่านผนังอาคาร. วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, ปีที่ 23, ฉบับที่ 67/2, พฤษภาคม-สิงหาคม 2567: อยู่ระหว่างดำเนินการตีพิมพ์ ISSN : 261-1185 (Online) (TCI กลุ่ม 1)
2567 ศิริสวัสดิ์ จองบุดดี, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2567. แนวคิดและการพัฒนาแผ่นปลูกพืชแทนดินระบายน้ำสำหรับสวนหลังคาจากเส้นใยรกมะขาม. วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, ปีที่ 23, ฉบับที่ 67/2, พฤษภาคม-สิงหาคม 2567: อยู่ระหว่างดำเนินการตีพิมพ์ ISSN : 261-1185 (Online) (TCI กลุ่ม 1)
2566 ดารัณ พุกเสวก, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2566. การพัฒนาท่อนำแสงทางแนวนอนสำหรับทาวน์เฮ้าส์ในประเทศไทย หน้า 72-84. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (BTAC-2023) ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 23 พฤศจิกายน 2566.
2566 กฤษณะ รัตนปรากฎ, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2566. การพัฒนาวัสดุกันความร้อนและดูดซับเสียงจากเศษหนังเทียมอุตสาหกรรม หน้า 427-436. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น ร่วมกับสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทยและมหาวิทยาลัยในเครือฯ. 4 กุมภาพันธ์ 2566.
2565 กิติพงศ์ คําเจริญ, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2565. วัสดุบุผนังภายในอาคารจากเส้นใยทะลายปาล์มนํ้ามันและวัสดุประสานธรรมชาติ. หน้า 2803-2811. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 17 มหาวิทยาลัยศรีปทุม. ออนไลน์. 27 ตุลาคม 2565.
2565 อนงค์ศิริ เสาร์แก้ว, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2565. การพัฒนาที่รองรับขยะในอุทยานแห่งชาติที่มีข้อจำกัดด้านงบประมาณ. หน้า 2842-2851. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 17 มหาวิทยาลัยศรีปทุม. ออนไลน์. 27 ตุลาคม 2565.
2565 ปฏิภาณ จันลือ, ศิรเดช สุริต, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2565. การเปรียบเทียบคุณสมบัติของไผ่ซางหม่นที่ผ่านการถนอม โดยการใช้สารเคมีและภูมิปัญญาพื้นถิ่น. หน้า 2793-2802. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 17 มหาวิทยาลัยศรีปทุม. ออนไลน์. 27 ตุลาคม 2565.
2565 ฐิศิรักน์ เชื้อเมืองพาน, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2565. การพัฒนาบล็อกปูพื้นทางเดินเท้าคอนกรีตพรุนจากหินกรวดและกะลาปาล์มน้ำมัน. วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย. 21 (1): 69-82 (TCI กลุ่ม 1)
2564 ธเนศ วัฒนโสภา, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2564. การพัฒนาวัสดุบุผนังลดแรงกระแทกจากน้ำยางธรรมชาติผสมฟางข้าว. หน้า 2129-2137. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 18 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. ออนไลน์. 8-9 ธันวาคม 2564.
2564 จุไรรัตน์ มีทรัพย์, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2564. วัสดุบุผนังภายในอาคารจากเปลือกมะพร้าวน้ำหอม. หน้า 2165-2172. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 18 มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. ออนไลน์. 8-9 ธันวาคม 2564.
2564 วีรศักดิ์ ศรีเมือง, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2564. การประยุกต์ใช้วัสดุเปลี่ยนสถานะ (PCM) กับวัสดุปูพื้นดาดฟ้าเพื่อการลดความร้อนภายในอาคาร. หน้า 194-200. ในการประชุมวิชาการเทคโนโลยีสร้างสรรค์ระดับชาติ ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. ชลบุรี(ออนไลน์). 4-6 สิงหาคม 2564.
2564 ศิรินันท์ ศิริกุล, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2564. วัสดุบุผนังภายในอาคารจากเปลือกทุเรียนเพื่อลดความร้อนและเสียงรบกวน. หน้า 201-209. ในการประชุมวิชาการเทคโนโลยีสร้างสรรค์ระดับชาติ ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. ชลบุรี (ออนไลน์). 4-6 สิงหาคม 2564.
2564 ปิยะบุตร แก้วศิวะวงศ์, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2564. การพัฒนาอุปกรณ์ตากผ้าประกอบคอนเดนซิ่งยูนิต. หน้า 210-216. ในการประชุมวิชาการเทคโนโลยีสร้างสรรค์ระดับชาติ ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. ชลบุรี (ออนไลน์). 4-6 สิงหาคม 2564.
2564 ศุภาพิชญ์ สุรกุล, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2564. การพัฒนาชุดประตูบานเกล็ดเพื่อการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ. หน้า 217-224. ในการประชุมวิชาการเทคโนโลยีสร้างสรรค์ระดับชาติ ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. ชลบุรี (ออนไลน์). 4-6 สิงหาคม 2564.
2564 สิทธิโชค มหับผลา, ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์. 2564. การพัฒนาอุปกรณ์ตากผ้าประกอบคอนเดนซิ่งยูนิต. หน้า 225-230. ในการประชุมวิชาการเทคโนโลยีสร้างสรรค์ระดับชาติ ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. ชลบุรี (ออนไลน์). 4-6 สิงหาคม 2564.
2562 Phiewsuwan, C., S. Visitsak, and N. Sridaranon. 2019. Eco Friendly Wall Materials Produced from Pineapple Fibers and Natural Binder. Pages. GB 79-83. In The 8th International Conference on Sustainable Energy and Green Architecture: Pathways to Achieve Sustainability (SEGA-08). Bangkok. Thailand. May 27-28, 2019.
2562 Srisod, A., S. Visitsak, and N. Sridaranon. 2019. Daylighting Tubes for the Court of Justice. Pages. GB 87-91. In The 8th International Conference on Sustainable Energy and Green Architecture: Pathways to Achieve Sustainability (SEGA-08). Bangkok. Thailand. May 27-28, 2019.
2562 Visitsak, S., N. Sridaranon, and J. Khedari. 2019. Concept and Sustainable Solutions for Daylight Applications for Buildings in Tropical Climate. In The International Conference on Innovative Applied Energy 2019 (IAPE). Oxford. UK. March 14-15, 2019.
2561 ณัฏรี ศรีดารานนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์, โจเซฟ เคดารี. 2561. แนวคิดในการพัฒนานวัตกรรมการใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับอาคารในเขตร้อนชื้น. วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย. 17 (2): 11-24 (TCI กลุ่ม 1)
2560 Visitsak, S., L. Beltran, and N. Sridaranon. 2017. The Daylight Performance of an Integrated Skylight and Shading Dome for the Tropics. Pages. 237-245. In The ISES Solar World Congress 2017 and The SHC 2017. Abu Dhabi. UAE. Oct 29 – Nov 2, 2017.
2557 Visitsak, S., N. Sridaranon, and J. Khedari. 2014. An Optimum Skylight and Shading Device Set. In The International Conference, Grand Renewable Energy 2014 (GRE). Tokyo. Japan. August, 2014.
สิทธิบัตร
2566 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ประเทศอินเดีย, ชื่อผลงาน “Indirect Light Skydome with Natural Ventilation” India Patent. Application No. 202017044194. Patent No. 468865.
Nov 14, 2023.
2566 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ประเทศไทย ชื่อผลงาน “ชุดอุปกรณ์กันแดดและช่องรับแสง” เลขที่คำขอ 1101000591 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554 เลขที่สิทธิบัตร 93255 ออกให้เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2566
2565 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ประเทศสหรัฐอเมริกา, ชื่อผลงาน “Indirect Light Skydome with Natural
Ventilation” USA Patent. Application No. 17/046,772. Patent No. US 11,332,939 B2.
May 18, 2022.
2563 สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ ประเทศไทย ชื่อผลงาน “ชิ้นส่วนสิ่งก่อสร้าง” เลขที่คำขอ 1402003668 เลขที่สิทธิบัตร 76137 ออกให้เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2563
2563 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ประเทศญี่ปุ่น, ชื่อผลงาน “Solar Shading Panel for North and South Sides” Japan Patent. Application No. 2017-547374. Patent No. JP 6699975. May 7, 2020.
2563 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ประเทศจีน, ชื่อผลงาน “Solar Shading Panel for North and South Sides” China Patent. Application No. ZL 2015 8 0064904. 3. Patent No. CN 107002459 B. Feb 7, 2020.
2562 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ประเทศสหรัฐอเมริกา, ชื่อผลงาน “Solar Shading Panel for North and South Sides” USA Patent. Application No. 15/531,381. Patent No. US 10,215,354 B2. Feb 26, 2019.
2558 สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ ประเทศไทย ชื่อผลงาน “ชิ้นส่วนสิ่งก่อสร้าง” เลขที่คำขอ 1102001249 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554 เลขที่สิทธิบัตร 47067 ออกให้เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2558
คำขอสิทธิบัตร
2563 ยื่นคำขอสิทธิบัตรการประดิษฐ์ ประเทศสหรัฐอเมริกา, อินเดีย, และออสเตรเลีย. ชื่อผลงาน “In Direct Light Skydome with Natural Ventilation” (พฤศจิกายน 2563)
2562 ยื่นคำขอสิทธิบัตรการประดิษฐ์ระหว่างประเทศ ผ่านระบบ PCT. ชื่อผลงาน “In Direct Light Skydome with Natural Ventilation” (พฤศจิกายน 2562)
2561 ยื่นคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ ประเทศไทย. ชื่อผลงาน “โดมรับแสงทางอ้อมและระบายอากาศสำหรับหลังคาอาคาร” เลขที่คำขอ 1801002183 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2561
2561 ยื่นคำขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ ประเทศไทย. ชื่อผลงาน “ชิ้นส่วนสิ่งก่อสร้าง” เลขที่คำขอ 1802001461 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2561
2557 ยื่นคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ ชื่อผลงาน “แผงกันแดดสำหรับด้านทิศเหนือและทิศใต้” เลขที่คำขอ 1401007156 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2557
รางวัล
2562 รางวัลประกาศเกียรติคุณเนื่องในโอกาสได้รับรางวัล Silver Medal จากงานแสดงนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ ณ เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2561 รางวัลประกาศเกียรติคุณนิสิตที่มีผลงานดีเด่นด้านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ปี 2561 โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2561 Silver Medal: “Indirect Light Sky Dome with Natural Ventilation” จากงาน 46th International Exhibition of Inventions Geneva 2018 จัดโดย The Swiss Federal Government and The World Intellectual Property Organization (WIPO) ณ เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
2558 รางวัลผู้นำชื่อเสียงมาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2558 จากงาน International Trade Fair ‘Ideas-Inventions-New Products’ (IENA) 2014 ประเทศเยอรมนี
2557 Silver Medal: “An Optimum Skylight and Shading Device Set for Direct Light Protection” จากงาน International Trade Fair ‘Ideas-Inventions-New Products’ (IENA) 2014 จัดโดย AFAG Messen und Ausstellungen GmbH ณ เมืองนูเร็มเบิร์ก ประเทศเยอรมนี
2557 KIWIE Prize (Excellence Prize): “An Optimum Skylight and Shading Device Set for Direct Light Protection” จากงาน Korea International Women’s Inventions Exposition 2014 จัดโดย The Korean Intellectual Property Office (KIPO) and The Korean Women Inventors Association (KWIA) ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
2557 Bronze Prize: “An Energy Saving Shading Window Set” จากงาน Korea International Women’s Inventions Exposition 2014 จัดโดย The Korean Intellectual Property Office (KIPO) and The Korean Women Inventors Association (KWIA) ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
2557 รางวัลเชิดชูเกียรติศิษย์เก่าดีเด่น ปี 2557 ปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2557 รางวัลประกาศเกียรติคุณ และเงินรางวัลจำนวน 100,000 บาท จากงานประกวดผลงานประดิษฐ์คิดค้นประจำปี 2557 สภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในผลงาน “แผงกันแดดที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสีตรง”
2556 Gold Prize: “An Optimum Skylight and Shading Device Set for Direct Light Protection” จากงาน Seoul International Invention Fair (SIIF) 2013 จัดโดย The Korean Invention Promotion Association (KIPA) ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
2556 FIRI DIPLOMA (FIRI Award for the Best Invention): “An Optimum Skylight and Shading Device Set for Direct Light Protection”, The First Institute Inventors and Researchers in I.R.IRAN, Seoul International Invention Fair (SIIF) 2013 ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
2556 Bronze Prize: “An Optimum Solar Screen for Direct Light Protection.” จากงาน Seoul International Invention Fair (SIIF) 2013 จัดโดย The Korean Invention Promotion Association (KIPA) ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
2556 รางวัลผู้นำชื่อเสียงมาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ปี 2556 จากงาน Seoul International Invention Fair (SIIF) 2013 ประเทศเกาหลีใต้
2556 รางวัลผู้นำชื่อเสียงมาสู่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากงาน Seoul International Invention Fair (SIIF) 2013 ประเทศเกาหลีใต้
2556 รางวัลรองชนะเลิศ การประกวดนวัตกรรมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2555 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากผลงาน “ชุดอุปกรณ์กันแดดและช่องรับแสงจากด้านบนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสีตรง”
2555 รางวัลระดับดีเด่น และเงินรางวัลจำนวน 250,000 บาท จากงานประกวดผลงานประดิษฐ์คิดค้นประจำปี 2555 สภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในผลงาน “ชุดอุปกรณ์กันแดดและช่องรับแสงจากด้านบนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสีตรง”
2555 รางวัลผู้นำชื่อเสียงมาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2555 จากงานประกวดผลงานประดิษฐ์คิดค้นประจำปี 2555 สภาวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2555 รางวัลเกียรติยศสำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษาที่มีผลการศึกษาระดับดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2554 ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม : ระดับภาคีสถาปนิก สาขาสถาปัตยกรรมหลัก
กิจกรรมอื่น ๆ
- เข้าร่วมโครงการวัฒนธรรมศึกษาสถาปัตยกรรมสีน้ำอาเซียน 2567 ณ เมืองคุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน จัดโดยสภาคณบดีสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย
- บรรยายพิเศษหัวข้อ “Research & Innovation for Sustainable Architecture” และจัดแสดงผลงานวิจัย ในงาน Nova Build Expo 2023 ไบเทค
- โครงการค่ายปฏิบัติการเตรียมความพร้อมสำหรับการคัดเลือก TCAS จุฬา เกษตร (CU-KU Design Studio Workshop 2023)
- อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ในโครงการประกวดบ้านประหยัดพลังงาน Solar Decathlon Europe 2021 จัดขึ้น ณ เมือง Wuppertal ประเทศเยอรมนี ในปี 2022 ซึ่งนำทีมโดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับสถาบันอาศรมศิลป์ และมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
- อาจารย์บรรยายพิเศษ หลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
- ที่ปรึกษาฝ่าย R&D บริษัท Greenoxide Research and Innovation (Thailand) Co.,LTD
- ประกาศนียบัตรการอบรม เรื่องสิทธิบัตรระหว่างประเทศ: The 6th International Workshop 2014 จัดโดยองค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (WIPO) ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
- สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์
- สมาชิกสภาสถาปนิก
- กิจกรรมประชุมวิชาการ บรรยาย อบรม และจัดแสดงผลงานวิจัยในสถานที่ต่าง ๆ