Nuanwan Tuaycharoen

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ประวัติ

  1. ชื่อ (ภาษาไทย)       ผศ. ดร. นวลวรรณ ทวยเจริญ

(ภาษาอังกฤษ)   Miss Nuanwan Tuaycharoen

 

  1. 2. ตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

  1. 3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

E-mail:           nuanwan@gmail.com

 

  1. 4. ประวัติการศึกษา

พ.ศ.2541      สำเร็จหลักสูตร สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พ.ศ.2545      สำเร็จหลักสูตร MSc. (Built Environment: Light and Lighting) University College London, UK

พ.ศ.2549      สำเร็จหลักสูตร PhD. (Architecture: Lighting) The University of Sheffield, UK

 

  1. 5. สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษและกรรมการที่ปรึกษา

ความเชี่ยวชาญพิเศษ: แสงและการส่องสว่าง สถาปัตยกรรม การออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน และการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อผู้สูงอายุ

2558-ปัจจุบัน คณะกรรมการในการร่างมาตรฐานการส่องสว่าง CIE JTC6 เรื่อง “Discomfort caused by glare from luminaires with non-uniform source luminance” ของ International Commission on Illumination (CIE)

2558-ปัจจุบัน   คณะกรรมการในการร่างมาตรฐานการส่องสว่าง CIE/JTC 6 และ ISO/TC 274/WG 1 เรื่อง “Energy Performance of Lighting in Buildings” ของ International Commission on Illumination (CIE)

 

  1. 6. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ

6.1 ทุนและรางวัลทางด้านการวิจัย

  1. The Walsh Western Awards 2006 รางวัลบทความทางวิชาการยอดเยี่ยมจากบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติทางแสงและการส่องสว่าง Lighting Research and Technology (Impact factor 1.26) ประจำปี 2550 จาก Society of Light and Lighting กรุง London ประเทศอังกฤษ
  2. Royal Thai Scholarship 2002-2006 (Master degree- Doctoral degree)
  3. 20 ปี 20 ผลงานวิจัยเด่น มหาวิทยาลัยนเรศวร
  4. รางวัลวิทยานิพนธ์ (ระดับดี) ประจำปี 2554 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ในหัวข้อเรื่อง  “การลดลงของความบาดตาโดยวิวที่น่าสนใจ (The Reduction of Discomfort Glare by Interesting View)”
  5. รางวัลชนะเลิศนวัตกรรม ระดับบัณฑิตศึกษา ประจำปี 2556 สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จากผลงาน “ท่อนำแสงแนวดิ่ง (Vertical Light pipe)”
  6. รางวัลสิ่งประดิษฐ์คิดค้น (ระดับดี) ประจำปี 2558 สาขาปรัชญา จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ในหัวข้อเรื่อง  “แผงกันแดดไม้ไผ่ (Bamboo Shading Device)”
  7. รางวัลผู้นำชื่อเสียงมาสู่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2558
  8. รางวัลนวัตกรรมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเภทบุคลากรระดับจูเนียร์ รางวัลชมเชย ประจำปี 2559 สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จากผลงาน “กล่องหิ้งสะท้อนแสง (Light shelf box)”
  9. รางวัลนวัตกรรมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเภทบัณฑิตศึกษา ระดับชมเชย ประจำปี 2559 ระดับบัณฑิตศึกษา ประจำปี 2556 สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จากผลงาน “การศึกษาอิทธิพลของรูปแบบหิ้งแสงและฝ้าเพดานเพื่อการส่องสว่างที่เหมาะสมในอาคารจำหน่ายสินค้าห้างสรรพสินค้า: กรณีศึกษาอาคาร CDS (CENTRAL FESTIVAL SAMUI)

 

6.2 งานวิจัยที่เสร็จสิ้น

  • ผลงานวิจัยเรื่อง “The Reduction of Discomfort Glare by Interesting Views” วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ได้รับทุนสนับสนุนสนับสนุนจากรัฐบาล (กพ.) ปีที่พิมพ์ พ.ศ. 2549
  • การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยต่างๆ ในภาพที่น่าสนใจต่อความไม่สบายตาเนื่องจากแสงที่สว่างเกินไป

ทุนวิจัยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร   พ.ศ. 2550-51 (หัวหน้าโครงการ)

  • โครงการวิจัยรูปแบบและวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่นของอุปกรณ์บังแดดที่เหมาะสมในแง่ของการให้แสงสว่างธรรมชาติและการลดพลังงานจากการใช้แสงสว่างสำหรับที่พักอาศัย ทุนวิจัยของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2550-51 (หัวหน้าโครงการ)
  • โครงการวิจัยการออกแบบภูมิทัศน์เพื่อส่งเสริมการเดินเท้า: การศึกษาปัจจัยทางภูมิทัศน์ถนนและทางเดินเท้าที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการใช้ทางเท้า ทุนวิจัยของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2550-51 (ผู้ร่วมโครงการ)
  • โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาชุม ชนแออัดสำหรับกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ได้รับทุนสนับสนุนจาก การเคหะแห่งชาติ พ.ศ. 2550-51 (ผู้ร่วมโครงการ)
  • โครงการประเมินทิศทางและแนวทางการแก้ไขปัญหาโครงการบ้านเอื้ออาทร ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ได้รับทุนสนับสนุนจากการเคหะแห่งชาติ ปีที่พิมพ์ พ.ศ. 2550-51 (ผู้ร่วมโครงการ)
  • การออกแบบและแก้ไขปรับปรุงการใช้แสงธรรมชาติและแสงประดิษฐ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงานสำหรับอาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ทุนวิจัยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2551-52 (หัวหน้าโครงการ)
  • การใช้ทิวทัศน์ที่น่าสนใจเพื่อลดแสงบาดตาในห้องเรียนและในสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2551-52 (หัวหน้าโครงการ)
  • โครงการจัดทำผังเฉพาะพื้นที่เกาะมัดสุม อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2551-52 (ผู้ร่วมโครงการ)
  • กระบวนการออกแบบชุมชนเมืองประสานระบบการวางผังเมืองเพื่อควบคุมการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมชุมชนเกาะพะงัน ทุนวิจัยของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2551-52 (ผู้ร่วมโครงการ)
  • การพัฒนารูปแบบและศักยภาพของอุปกรณ์บังแดดไม้ไผ่ที่เหมาะสมสำหรับอาคารที่พักอาศัย ทุนวิจัยของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553-54 (หัวหน้าโครงการ)
  • การพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในอาคารที่เหมาะสมต่อการมองเห็นของผู้สูงอายุ ทุนวิจัยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2554-56 (หัวหน้าโครงการ)
  • แนวทางการวางแผนด้านผังเมืองเพื่อรองรับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: กรณีศึกษาปัญหาน้ำท่วมและแนวทางการจัดการน้ำท่วมในเขตผังเมืองรวมพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทุนวิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ฝ่ายสวัสดิภาพสาธารณะ พ.ศ. 2554 (ผู้ร่วมโครงการ)
  • แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเดินในเขตชานเมืองด้วยมาตรการทางผังเมือง (สสส.) พ.ศ. 2555 (ผู้ร่วมโครงการ)
  • การพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในห้องพักผู้ป่วยที่เหมาะสมต่อการมองเห็นและฟื้นฟูของผู้ป่วยสูงอายุ ทุนวิจัยของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2556-57 (หัวหน้าโครงการ)
  • แนวทางการวางผังเมืองเพื่อรับมือต่อความเสี่ยงต่อภาวะน้ำท่วมในอนาคตจากอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ กรณีศึกษา เทศบาลนครสมุทรปราการ ทุนวิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ฝ่ายสวัสดิภาพสาธารณะ พ.ศ. 2556-58 (ผู้ร่วมโครงการ)
  • แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมชุมชนและที่อยู่อาศัยชุมชนเมืองเพื่อรองรับการใช้ชีวิตด้วยตนเองของผู้สูงอายุชาวไทย ทุนวิจัยของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558-59 (หัวหน้าโครงการ)

 

6.3 งานวิจัยที่กำลังดำเนินงาน

  1. โครงการแนวทางการออกแบบแสงสว่างสำหรับผู้สูงอายุชาวไทย ทุนวิจัยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2558-60 (หัวหน้าโครงการ)
  2. โครงการการพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยเพื่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า ทุนการวิจัยด้านสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ประจำปีงบประมาณ 2561-2563

 

6.4 บทความทางวิชาการ

  1. Tuaycharoen, N., and Tregenza, PR., 2005, Discomfort glare from interesting images, Lighting Research and Technology, Vol 37, No 4, pp 329-341
  2. Tuaycharoen, N., and Tregenza, PR., 2007, Views and Discomfort Glare from Windows, Lighting Research and Technology, Vol 39, No 2, pp 185-200
  3. Tuaycharoen N., 2007, Lighting Strategies in Thai Art Galleries: A Study of the National Bangkok Art Gallery and the Art Gallery of the Faculty of Fine Art, Chiangmai University, The Proceedings of ISACS International Symposium on Architecture & Culture in Suvanabhumi, Vol 1, pp. 40-49
  4. Tuaycharoen N., 2008, The Effect of Non-uniform Image on Discomfort Glare, The Proceedings of ISACS International Symposium on Architecture & Culture in Suvanabhumi, Khonkaen
  5. Konisranukul, W. and Tuaycharoen, N. (2008) Effects of Landscape Factors on Preference to Walkway, CDAST 2008 International Conference, Naresuan University, May 2008.
  6. Konisranukul, W. and Tuaycharoen, N. (2008) Pedestrian Walking Speed on Walkway in Bangkok, ISACS 2008 International Conference, Konkean University, August 2008.
  7. นวลวรรณ ทวยเจริญ, 2551, อิทธิพลของปัจจัยต่างๆ ในภาพที่น่าสนใจต่อความบาดตา, วารสารการประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4 (The 4th Conference on Energy Network of Thailand, E-NETT), หน้า 293-298
  8. กีรติ สัทธานนท์, นวลวรรณ ทวยเจริญ และณัฐพงษ์ ไผทฉันท์, 2551, ปลุกชุมชนใหม่ในเมืองเก่า (ตอนที่ 1): รายงานความก้าวหน้าโครงการการจัดทำแผนการพัฒนาที่อยู่อาศัยระดับเมือง และแผนป้องกันและแก้ปัญหาชุมชนแออัด, The Proceedings of ISACS International Symposium on Architecture & Culture in Suvanabhumi, Khonkaen
  9. นวลวรรณ ทวยเจริญ และวนารัตน์ กรอิสรานุกูล, 2552, การศึกษารูปแบบของอุปกรณ์บังแดดไม้ไผ่ที่เหมาะสมในแง่ของการให้แสงสว่างธรรมชาติและการลดพลังงานไฟฟ้าสำหรับอาคารบ้านพักอาศัย, วารสารการประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5 (The 5th Conference on Energy Network of Thailand, E-NETT)
  10. Tuaycharoen N. and Konisranukul, W, 2010, The Development of Characteristics of Bamboo Shading Device for Energy Saving Climate Change and Energy, International Sustainable Development Research Conference, Hongkong
  11. นวลวรรณ ทวยเจริญ และวนารัตน์ กรอิสรานุกูล, 2553, การพัฒนาแผงกันแดดจากไม้ไผ่เพื่ออุตสาหกรรมท้องถิ่น, รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปี 2553
  12. Tuaycharoen N., 2011, Windows are less glaring when there is a preferred view, Built – Environment – Sri Lanka – Vol. 9-10, No. 1-2, pp.45-55
  13. Tuaycharoen, , 2010, View Characteristics and Discomfort Glare, IES International Annual Conference 2010, Illuminating Engineering Society, Canada (in press)
  14. นวลวรรณ ทวยเจริญ และวนารัตน์ กรอิสรานุกูล, 2554, การออกแบบและแก้ไขปรับปรุงการใช้แสงธรรมชาติเพื่อการอนุรักษ์พลังงานสำหรับอาคารเรียน ในเขตภาคเหนือตอนล่าง: กรณีศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปี 2554
  15. วนารัตน์ กรอิสรานุกูล และนวลวรรณ ทวยเจริญ, 2554, การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวน้ำพุร้อนธรรมชาติเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน   กรณีศึกษาน้ำพุร้อนพระร่วง จังหวัดกำแพงเพชร รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปี 2554
  16. Tuaycharoen, N, and Kornisranukul, W., 2011, Bamboo Shading Device: An Alternative Approach for Green Building, PSU – USM International Conference on Humanities and Social Sciences 2011 “Transforming Research for Sustainable Community” 3 – 4 October, 2011, BP Grand Tower Hotel, Hat Yai, Songkhla, Thailand.
  17. Tuaycharoen, N. 2012. Thai Daylight Glare Index. The Proceeding of 7th Lux Pacifica 2013. pp. 203-208
  18. Tuaycharoen, N., 2012, Lighting for Thai Elderly: An investigation of Visual Performance and Discomfort Glare. The Proceeding of 7th Lux Pacifica 2013. pp. 203-208
  19. Kornisranukul, W., and Tuaycharoen, N. 2013. Using 3D visualization to improve public participation in sustainable planning process: Experiences through the creation of Koh Mudsum plan, Thailand. Procedia Social and Behavioral Science. Pp 679-690.
  20. Tuaycharoen, N. 2014. View and discomfort glare in Thai elderly. The Proceeding of PSU – USM International Conference on Humanities and Social Sciences 2014 “Spot of Change for Tomorrow” 2 – 3 June, 2014, Hansa JB Hotel, Hat Yai, Songkhla, Thailand.
  21. นวลวรรณ ทวยเจริญ, วนารัตน์ กรอิสรานุกูล, ชนิกานต์ ยิ้มประยูร, ศิรเดช สุริต, นงนาถ จวนแจ้ง และ

คณิศร ณะมณี, 2559, เกณฑ์ค่าความส่องสว่างสำหรับอาคารพักอาศัยจากต่างประเทศและการมองเห็นของคนไทย, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 3 (The 3rd Building Technology Alliance Conference on Energy and Environment,BTAC)

  1. นวลวรรณ ทวยเจริญ, วนารัตน์ กรอิสรานุกูล, ชนิกานต์ ยิ้มประยูร, ศิรเดช สุริต, นงนาถ จวนแจ้ง และคณิศร ณะมณี, 2559, สภาพการส่องสว่างในปัจจุบันในอาคารพักอาศัยของโครงการการเคหะแห่งชาติ, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 3 (The 3rd Building Technology Alliance Conference on Energy and Environment,BTAC)
  2. นวลวรรณ ทวยเจริญ, วนารัตน์ กรอิสรานุกูล และคณิศร ณะมณี, 2559, อิทธิพลของแสงสว่างภายในอาคารต่อการมองเห็นของผู้สูงอายุชาวไทย, วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฉบับที่ 65, หน้า 55-74.