Pattaranan Takkanon

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ประวัติและผลงาน        รศ.ดร.ภัทรนันท์ ทักขนนท์
                                    
Pattaranan Takkanon, Ph.D., TREES-A

ตำแหน่งวิชาการ/ บริหาร  รองศาสตราอาจารย์

สังกัด                         สาขาวิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

ติดต่อ                         pattaranan.t@ku.th

Short CV of Assoc. Prof. Dr. Pattaranan Takkanon

After completing Ph.D. in Architecture from the University of Queensland, Australia in 2006, Pattaranan Takkanon has been working for the Faculty of Architecture, Kasetsart University. Her areas of expertise are design for tropical environment, building materials and enclosure, thermal control as well as computer simulation for performancebased design. She has opportunities to apply special knowledge and emerging techniques to ensure the performance of design in many scales and areas of design including parts of a building, whole building, building cluster, and urban community. Her recent research project is ‘Green BIM’ that developed a plugin for Building Information Modeling software for green building design. Her current research focuses on Urban Heat Island (UHI) and developing Local Climate Zone (LCZ) for Bangkok.

Since the Faculty of Architecture, Kasetsart University is the first and the leading school in Green Architecture in Thailand, she has a role in teaching, research, architectural practice, and green consultancy. She also voluntarily works for the Association of Siamese Architects (ASA), the Green Building Committee, in particular. She is currently the committee member of Thailand Green Building Institute (TGBI), Smart Cities-Clean Energy, as well as giving consultancy service as a JICA local consultant to work with Bangkok Metropolitan Administration (BMA) to strengthen on the Bangkok Master Plan on Climate Change 2013-2023.

ผลงานและประสบการณ์

การศึกษา (Education)

2545-2549 Doctor of Philosophy (Architecture) จาก The University of Queensland, Australia

2544-2545 Master of Philosophy (Architecture) จาก The University of Queensland, Australia (ปรับเป็น PhD ปี 2545)

2536-2540 สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สาขาที่เชี่ยวชาญ (Areas of expertise)

·          วิทยาศาสตร์สถาปัตยกรรม (Architectural Science)

·          การจำลองสมรรถนะทางความร้อนของอาคารและการจำลองทางอุณหพลศาสตร์ของไหล                 (Thermal Simulation and Computational Fluid Dynamics)

·          วัสดุและเปลือกอาคาร (Building Materials and Enclosures)

·          วัสดุทางเลือก (Alternative Materials)

·          สภาวะอากาศในเมือง (Urban Climate)/ สภาวะเกาะความร้อนในเมือง (UHI)

·          การออกแบบเพื่อสุขภาพและสุขภาวะ (Design for Health and Wellbeing)

·          การออกแบบตามสภาวะแวดล้อมในเขตร้อนชื้น (Design for Tropical Environment)

·                        การออกแบบอาคารเขียว (Green Building Design)

 

งานวิจัย

       2561-2562   การพัฒนาโปรแกรมแบบจำลองสารสนเทศอาคารเขียว (Green BIM) สำหรับงานสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมด้านอาคารประหยัดพลังงาน

       2557-2559   แผนงานวิจัย “แนวทางในการออกแบบเมืองสีเขียวเพื่อลดผลกระทบจากปรากฏการณ์เกาะความร้อนในเมือง”

      ชื่อโครงการวิจัยภายใต้แผนงานวิจัย

      1)  โครงการศึกษาแนวทางการออกแบบเรขาคณิตของเมืองเพื่อส่งเสริมลมในการลดความร้อนและ

            มลพิษทางอากาศในเมือง

      2)  โครงการศึกษาแนวทางการออกแบบพื้นที่สีเขียวในเมืองเพื่อลดผลกระทบจากปรากฏการณ์เกาะ

           ความร้อนในเมือง

       2557-ปัจจุบัน สภาวะเกาะความร้อนในเมืองและสมรรถนะด้านสภาพแวดล้อมของอาคารในกรุงเทพมหานคร

       2557-ปัจจุบัน บ้านสะเทินน้ำสะเทินบก

       2555ปัจจุบัน โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลแบบจำลองชิ้นส่วนอาคารสำหรับระบบ BIM

       2548-2554  ระบบผนังเย็น ความร่วมมือในการพัฒนาวัสดุก่อสร้าง/ผลิตภัณฑ์ 

                           ระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ บริษัท ผลิตภัณฑ์ก่อสร้างเครือซิเมนต์ไทย จำกัด

       2549          โครงการวิจัยและพัฒนาวัสดุก่อสร้างจากเศษซากอาคาร

  2551          โครงการปฏิบัติการออกแบบจากวัสดุเหลือใช้

  2550-2551 ผสานพลังศาสตร์แห่งแผ่นดิน ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง

       25492550  โครงการฟื้นฟูทรัพยากรสิ่งแวดล้อมพื้นที่หนองหารเพื่อชุมชนที่ยั่งยืนและบูรณาการ

       2544           โครงการลมและสถาปัตยกรรม: การศึกษาองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมประเภทเรือน                                แถวที่ส่งเสริมการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ

2543          โครงการผังแม่บทมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

งานออกแบบและบริการวิชาการ (Design Projects & Public Services)

2560           งานออกแบบและปรับปรุงอาคารคณะประมง ม.เกษตรศาสตร์

2560           Eco Canteen โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 10 จ.ระยอง

2555           อาคารศูนย์นวัตกรรมการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

        2555-2557     KU VIlle: อาคารอเนกประสงค์ ซอยพหลโยธิน 45

2556           งานออกแบบและปรับปรุงอาคาร “KU Green” ของคณะอุตสาหกรรมเกษตร

2553-2554   โครงการออกแบบอาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จ.จันทบุรี

2551-2552  โครงการจัดทำแนวทางการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน กรณีศึกษา ที่ดินร่มเกล้า การเคหะแห่งชาติ

2550-2552   โครงการพัฒนาและปรับปรุงจัดทำประมวลข้อบังคับอาคาร (Building Code) สำหรับ ประเทศไทย โครงการย่อยที่ 7: ข้อบังคับเกี่ยวกับการออกแบบตามสมรรถนะ (Performance-Based Design)

2551          โครงการศึกษาและออกแบบเพื่อพัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

2549      โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์ชุมชนตลาดศาลเจ้าโรงทอง อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง

2542           อาคารที่ทำการศูนย์ผลิตภัณฑ์นม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU Dairy Office)

งานออกแบบและที่ปรึกษาภาคเอกชน (Private Design Projects)

       2562-ปัจจุบัน     งานที่ปรึกษาเรื่องลมโดยการจำลอง CFD ประกอบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) โครงการคอนโดมิเนียมและอาคารสูงภาคเอกชน

       2561           งานออกแบบบ้านพักอาศัยย่านลาดปลาเค้า

       2560           งานที่ปรึกษาโครงการพัฒนาแบบที่พักอาศัยบริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน)

       2559           งานที่ปรึกษาด้านการออกแบบอาคารเขียวโครงการ The Bangkok Residence

       2558           งานที่ปรึกษาเรื่องลมโดยการจำลอง CFD เพื่อศึกษาผลกระทบจากการออกแบบ Barrier บนทางหลวง จ.ชลบุรี ต่อลมในพื้นที่

       2557           งานที่ปรึกษาด้านพลังงานและการศึกษาการออกแบบเพื่อลมธรรมชาติโดยใช้การจำลอง CFD โครงการออกแบบปรับปรุงมหาวิทยาลัยหอการค้า

       2557           งานที่ปรึกษาด้านการออกแบบอาคารเขียวโครงการโชว์รูม Ford & Mazda จ.ชัยภูมิ

       2554           งานที่ปรึกษาด้านการออกแบบอาคารเขียว โครงการสำนักงาน Entech

           2552           งานที่ปรึกษาด้านพลังงานและการศึกษาการออกแบบเพื่อลมธรรมชาติโดยใช้การจำลอง CFD ออกแบบอาคารสโมสรสนามกอล์ฟและโรงแรม โครงการกรีนวูด จ.ชลบุรี

       2552           งานที่ปรึกษาด้านพลังงานโครงการประกวดแบบอาคารรัฐสภา ของบ.สถาปนิกคิดดี

       2553           งานออกแบบทาวน์เฮ้าส์ย่านประชาชื่น

       2552           งานออกแบบสำนักงานขายวัสดุก่อสร้างและบ้านพักอาศัย

       2552           งานออกแบบบ้านพักอาศัยย่านลาดพร้าว

       2552           งานออกแบบบ้านพักอาศัยย่านดินแดง

       2551           งานออกแบบบ้านพักอาศัยย่านเสนานิคม

รางวัลผลงานออกแบบ (Design award)

2552          รางวัลการออกแบบสถาปัตยกรรมเขียว Citation Award, FuturArc Prize 2009

งานสำหรับองค์กรวิชาการ/วิชาชีพ (Social activities)

2561-ปัจจุบัน  ที่ปรึกษาของ JICA ฝ่ายการวางผังเมืองสีเขียว เพื่องานแผนแม่บทกรุงเทพมหานครว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ.2556-2566

2559  กรรมการพัฒนาเกณฑ์และประกวดแบบเมืองอัจฉริยะ (Smart Cities and Clean Energy)

2553-ปัจจุบัน กรรมการสถาบันอาคารเขียว (Thailand Green Building Institute-TGBI)

2552-ปัจจุบัน  กรรมการฝ่ายวิชาการ ASA Green สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์

(โครงการ ASA Green, ปรับปรุงกฎหมายควบคุมอาคาร, พัฒนาเกณฑ์ Passive Green, เขียนและเป็นบรรณาธิการหนังสือ ASA Architectural Awards: Bangkok Walking Guide)

2551-2552  เลขานุการและกรรมการวิชาการงานประชุมวิชาการนานาชาติเขตร้อน พลังงานยั่งยืนและสถาปัตยกรรมเขียว (iNTA-SEGA 2009)

2550  เลขานุการร่วมงานประชุมวิชาการนานาชาติการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อมครั้งที่ 7 (The7th International Conference on Urban Planning and Environment: UPE7)

ผลงานตีพิมพ์ (Publications)

งานบรรณาธิการ:

·    บรรณาธิการหนังสือ ASA Architectural Awards: Bangkok Walking Guide 2010

·    บรรณาธิการร่วมหนังสือ

Jenks, M., Kozak, D., Takkanon, P. (Eds.), 2008. World Cities and Urban Form: Fragmented, Polycentric, Sustainable?, Routledge.

งานเขียนหนังสือ

·    ภัทรนันท์ ทักขนนท์. 2561. สถาปัตยกรรมไม่แก่แดดแต่แก่ลม. โรงพิมพ์พรีวัน, กรุงเทพฯ.

งานเขียนบทความวิจัยและบทความวิชาการ

1.  Takkanon, P., 2019. Green Urban Planning towards Bangkok Master Plan on Climate Change 2013-2023, Proceedings of the 7th International Network of Tropical Architecture (iNTA) Conference, Brisbane. 372-380.

2.  Takkanon, P. & Chantarangul P., 2019. Effects of urban geometry and green area on thermal condition of urban street canyons in Bangkok. Architectural Science Review, 62(1), 35-46.

3.  Takkanon, P., 2018, Improving thermal condition of a townhouse through the use of low-cost ventilation system: A case study in Chonburi, Thailand, Proceedings of Passive Low Energy Architecture (PLEA 2018), Hong Kong.

4.  Kaewchuang, P., Takkanon, P. 2018, Effects of orientations and wall materials on indoor thermal condition: a case study of welfare house for military officers, Proceedings of The 7th International Conference on Sustainable Energy and Green Architecture (SEGA 07), May 21-22, 2018, Bangkok, Thailand.

5.  Takkanon, P., 2017, UHI and Thermal Performance of Office Buildings in Bangkok. Procedia Engineering, 180, 241 – 251.

6.  Takkanon, P., 2017, Urban Geometry Design Guidelines for Heat Mitigation and Airflow in Bangkok, Proceedings of Passive Low Energy Architecture (PLEA 2017), Edinburgh.

7.  Takkanon, P., 2017, Urban geometry and wind simulation studies for comfort in Bangkok street canyon, Proceedings of  World Sustainable Built Environment Conference 2017, Hong Kong.

8.  Takkanon, P., 2016, A Study of Height-to-width Ratios and Urban Heat Island Intensity of Bangkok, Proceedings of the 4TH International Conference on Countermeasures to Urban Heat Island (IC2UHI 2016), Singapore.

9.  โอ๊ก ศรนิล, ชนิกานต์ ยิ้มประยูร, ภัทรนันท์ ทักขนนท์, 2562, การเพิ่มการระบายอากาศในหอผู้ป่วยรวมด้วยวิธีผสานเพื่อควบคุมการติดเชื้อ, วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (68): 55-68.

10. พิมพ์ชนก ศิริสาลิโภชน์ และภัทรนันท์  ทักขนนท์. 2561. แนวทางการออกแบบสำนักงานชั่วคราวโครงการก่อสร้าง เพื่อการประหยัดพลังงาน กรณีศึกษา: อาคารสำนักงานชั่วคราวโครงการก่อสร้างรัฐสภาแห่งใหม่ เกียกกาย กรุงเทพฯ. การประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมือง ประจำปี 2561 (Urban and Regional Planning Academic Symposium, URPAS, 2018), 27 เมษายน 2561, กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย.

11. กรณ์ดนัย พรหมจันทร์ และภัทรนันท์  ทักขนนท์. 2561. การออกแบบช่องเปิดเพื่อการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติสำหรับอาคารเรียนมาตรฐาน, 468-480, การประชุมวิชาการระดับชาติ ศิลปกรรม ธุรกิจบัณฑิตย์ ครั้งที่ 13, 29 มีนาคม 2561, กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย.

12. สมมาศ โสภณดิเรกรัตน์ และภัทรนันท์  ทักขนนท์. 2561. การออกแบบและปรับปรุงช่องเปิดเพื่อพัฒนาระบบการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมเครื่องจักร: กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมโรจนะ, 739-750, การประชุมวิชาการระดับชาติ ศิลปกรรม ธุรกิจบัณฑิตย์ ครั้งที่ 13, 29 มีนาคม 2561, กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย.

13. ณัฐรดา บุญถัด, ศิรเดช สุริต, ภัทรนันท์ ทักขนนท์, 2560, การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์การบังแดดของอุปกรณ์บังแดด (SC) ด้วยโปรแกรม REVIT & DYNAMO ตามหลักเกณฑ์การคำนวณของกฎหมายพลังงาน (BEC), วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560), ISBN 1685-4489.

14. ณรงค์ชัย พ่วงคงภัทรนันท์ ทักขนนท์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์, แผ่นดินเบาและใยมะพร้าวเพื่อดูดความชื้นสำหรับเครื่องปรับอากาศ, วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.  ปีที่ : 17  ฉบับที่ : 21  ปีพ.ศ. : 2558 pp 56-68.

15. ยุทธนา ลายทอง, ภัทรนันท์ ทักขนนท์, นวลวรรณ ทวยเจริญ, 2557, การศึกษาอิทธิพลของแสงสว่างต่อการเกิดไมเกรน, 205-211, การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 1 (1st BTAC on Energy and Environment), 28 กุมภาพันธ์ – 1 มีนาคม 2557, จ.ขอนแก่น, ประเทศไทย.

16. นุกูล กันเกตุชนิกานต์ ยิ้มประยูรภัทรนันท์ ทักขนนท์ , แนวทางการออกแบบเพื่อการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติสำหรับห้องปฏิบัติการเคมีเขียว, วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร  ปีที่ : 8  ฉบับที่ : 1  ปีพ.ศ. : 2557 pp  64-77.

17. อดิสา วงษ์ชมภู, ภัทรนันท์ ทักขนนท์, นวลวรรณ ทวยเจริญ, 2556, รูปแบบอุปกรณ์กระจายแสงท่อนำแสงแนวดิ่ง, 191-196, Built Environment Research Associates Conference, BERAC 4, 23 พฤษภาคม 2556, กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย.

18. Takkanon, P., 2014, Cohousing and the Development of Rating Tools for Sustainable Living in Thailand, Proceedings of WSB14, World Sustainable Building 2014, Barcelona.

19. ภัทรนันท์ ทักขนนท์, 2556, การก่อสร้างแบบดินอัด: ทางเลือกสำหรับสถาปัตยกรรมยั่งยืน, รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายภูมิปัญญาสถาปัตยกรรมและการออกแบบ”โฮมภูมิ”: เอกภาพในความหลากหลาย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

20. Takkanon, P & Yeung, L 2009, Workshop: Problem-based learning for sustainable architecture education, Proceedings of iNTA-SEGA 2009, The International Network for Tropical Architecture and Sustainable Energy and Green Architecture, Bangkok.

21. Takkanon, P & Yeung, L 2008, The use of construction debris for rammed earth construction, Proceedings of CDAST 2008, The Council of Deans of Architecture School of Thailand, Phitsanulok.

22. Takkanon, P 2006, Design guidelines for thermal comfort in row houses in Bangkok, Proceedings of PLEA 2006, The 23rd Passive Low Energy Architecture Conference, Geneva.

23. Takkanon, P 2005, Thermal comfort: Basics and Models for Hot and Humid Climates, Raneang, Journal of the Faculty of Architecture, Kasetsart University.10th anniversary edn, pp 246-256.

24. ภัทรนันท์ ทักขนนท์ 2547, สภาวะน่าสบาย: พื้นฐานและแบบจำลองสำหรับภูมิอากาศเขตร้อนชื้น, หน้าจั่ว: วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ฉบับที่ 21, ประจำปีการศึกษา 2547-2548, pp 133-146.

25. Takkanon, P 2004, ‘Bangkok shophouses: the field investigation and experimental study of their thermal performance’, Proceedings of iNTA, The First International Tropical Architectural Conference, Singapore.

26. Takkanon, P 2003, ‘Building performance study of a natural ventilated row house in Bangkok, Thailand’, Proceedings of ANZAScA Conference 2003, Sydney.

27. ภัทรนันท์ ทักขนนท์ 2544, โครงการลมและสถาปัตยกรรม: การศึกษาองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมประเภทเรือนแถวที่ส่งเสริมการระบายอากาศโดยวิธีธรรรมชาติ, ระแนง: วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ปีที่ 2, ฉบับที่ 1, เมษายน 2544, pp 22-39.

28. Sunakorn, P, Chukiatman, C and Takkanon, P 2001.  ‘Wind and Architecture’, Proceedings of The Fourth Pacific International Conference on Aerospace Science and Technology, Kaohsiung, Taiwan, May 21-23, 2001.

29. Reungwongrojana, W and Takkanon, P 1999, Evaluation of Building Energy Software Tools, Training Program Report, International Technologies Center, Department of Civil and Environmental Engineering, The University of Melbourne, Australia.