Siradech Surit
ผศ.ดร.ศิรเดช สุริต
Asst.Prof. Dr.Siradech Surit
วิศวกรรศาสตรดุษฎีบัณฑิต วศ.ด.(วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
archsds@ku.ac.th; siradech.s@ku.th;
https://www.facebook.com/StructuralStudio
ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Faculty of Architecture Kasetsart University
50 Ngamwongwan Road, Jatujak, Bangkok 10900, Thailand
Tel.+66(2) 942-8960-3 Ext. 304
- 2554 วศ.ด.วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- 2547 วศ.ม.วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- 2541 วศ.บ.วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สาขาวิชาการที่มีความชำนาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ
- วิศวกรรมโครงสร้าง (Structural Engineer)
- แบบจำลอง Finite Element และ การจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Simulation)
- การวิเคราะห์ค่าเหมาะที่สุด (Optimization)
- แบบจำลองสารสนเทศอาคาร (Building Information Modeling: BIM)
- ระบบความจริงเสมือน (Virtual Reality) และ Interactive Environment
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยและการจัดทำโครงการวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ
บทความตีพิมพ์
- กระบวนการสื่อสารการออกแบบจากแบบจำลองสารสนเทศอาคารโดยใช้ระบบต้นแบบเสมือนจริง ศิรเดช สุริต การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20, วันที่ 8-10 กรกฏาคม 2558 จ. ชลบุรี.
- Wethyavivorn, B., Surit, S., Apichatyakul, C., & Lerdsivanon, N. (2014). Model Verification of Thai Historic Masonry Monuments. Journal of Performance of Constructed Facilities, 30(1), 04014188.
- Wethyavivorn, B. P. Wethyavivorn, C. Suksawat and S. Surit., (2014) Sustainable Design: Case Study of a Detached Housing in Bangkok, in International Conference on Advances in Civil Engineering for Sustainable Development (ACESD 2014), Nakhon Ratchasima, Thailand, 27-29 August 2014
- Wethyavivorn, B., & Surit, S. (2011). Design development of wood-plastic for building louver facade. Procedia Engineering, 21, 147-154.
- Surit, S., & Wethyavivorn, B. (2008). Topology Optimization for Sustainable Development: Case studies. Topology, 28, 29.
- นพวุฒิ ไผทรัตน์, ศิรเดช สุริต และนวลวรรณ ทวยเจริญ. 2557. “การศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะทางแสงสว่างของหลอดไฟแอลอีดีและหลอดฮาโลเจนที่มีผลต่อการมองเห็นของคนไทย”, Built Environment Research Associates Conference (BERAC) ครั้งที่ 5, 23 พฤษภาคม 2557. กรุงเทพ ราชอาณาจักรไทย.
- เบญจพล เวทย์วิวรณ์, ปิยนุช เวทย์วิวรณ์, จรุงจิตต์ สุขสวัสดิ์ และศิรเดช สุริต, 2557. “Sustainable Design: Case Study of a Detached Housing in Bangkok”, International Conference on Advances in Civil Engineering for Sustainable Development, 27 – 29 สิงหาคม 2557, นครราชสีมา ราชอาณาจักรไทย. pp 439 – 452
- ศิรเดช สุริต. 2558. “กระบวนการสื่อสารการออกแบบจากแบบจำลองสารสนเทศอาคารโดยใช้ระบบต้นแบบเสมือนจริงร่วมกบระบบความจริงเสมือนแบบสัมผัสเต็ม”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20, 8 – 10 กรกฎาคม 2558, ชลบุรี ราชอาณาจักรไทย. pp 271-282
- สุฑาลักษณ์ ตันติวงศ์, นวลวรรณ ทวยเจริญ และศิรเดช สุริต. 2558 “การศึกษาอิทธิพลของรูปแบบหิ้งแสงและฝ้าเพดานเพื่อการส่องสว่างที่เหมาะสม ในอาคารจำหน่ายสินค้าห้างสรรพสินค้ากรณีศึกษา อาคาร CDS (Central Festival Samui)”, การประชุมวิชาการ “นเรศวรวิจัย” ครั้งที่ 11: Research & Innovation, 22 – 24 กรกฎาคม 2558, พิษณุโลก ราชอาณาจักรไทย.
- วีรวรรณ สระทองห้อย, นวลวรรณ ทวยเจริญ และศิรเดช สุริต. 2558. “การศึกษาสภาพแวดล้อมภายในอาคารพักอาศัยเพื่อความพึงพอใจในการมองเห็นของผู้สูงอายุชาวญี่ปุ่นที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย”, การประชุมวิชาการ “นเรศวรวิจัย” ครั้งที่ 11: Research & Innovation, 22 กรกฎาคม – 24 กันยายน 2558, พิษณุโลก ราชอาณาจักรไทย.
- Wethyavivorn, B.,Surit, S., Apichatyakul, C., and NattiyaLerdsivanon, N. 2014. “Model Verification of Thai Historic Monuments”, Journal of Performance of Constructed Facilities, American Society of Civil Engineers. pp 04014188-1 – 04014188-14
- Surit, S., and Sribanpone, P. 2015. “Large-Scale Combinatorial Optimization Algorithm for Reinforced Steel Bars in BIM-Oriented Projects”, The 4th International Conference on Sustainable Energy and Green Architecture Eco Buildings Innovation and Indoor Air Quality, 30 – 31 มีนาคม 2558, กรุงเทพ ราชอาณาจักรไทย. Pp 353-368
งานวิจัย
- ระบบต้นแบบเสมือนจริงรองรับผู้ใช้หลายคนสำหรับการออกแบบอาคารเขียว ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2557 ระยะเวลา 1 ปี (2557-2558): หัวหน้าโครงการ
- การพัฒนาคานคอนกรีตเสริมเหล็กโดยเทคโนโลยีสรีระเหมาะที่สุด ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย จากทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2554 ระยะเวลา 1 ปี (1 ม.ค. 56 – 31 ธ.ค. 56) : ผู้ร่วมโครงการ
- การพัฒนาระบบฐานข้อมูลแบบจำลองชิ้นส่วนอาคารสำหรับระบบ BIM (ขั้นที่ ๑) ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ประจำปีงบประมาณ 2556 ระยะเวลา 1 ปี (2555-2557): หัวหน้าโครงการ
- การพัฒนาแบบไม้ประกอบพลาสติกเพื่อเป็นส่วนฃองอาคารรับแรงลม ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากบริษัทไทยไฮบิดจำกัด ประจำปีงบประมาณ 2552 ระยะเวลา 1 ปี (2551-2552): ผู้ร่วมโครงการ
- การพัฒนาแบบไม้ประกอบพลาสติกเพื่อเป็นส่วนฃองอาคารรับแรงลม (ส่วนขยายเวลา) ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากบริษัทไทยไฮบริดจำกัด ประจำปีงบประมาณ 2553 ระยะเวลา 1 ปี (2552-2553): ผู้ร่วมโครงการ
งานบริการทางวิชาการ
ภายใน
- วิทยากรบรรยายพิเศษในหัวข้อ Structural design innovation (นวัตกรรมด้านการออกแบบโครงสร้างอาคาร) ในงาน “ASA Forum 2015” งานสถาปนิก’56 : งานแสดงเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม ครั้งที่ 27 วันที่ 1 พฤษภาคม 2015 ห้องจูปีเตอร์ 5 เมืองทองธานี สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (1 ชั่วโมง)
- วิทยากรบรรยายพิเศษเรื่อง Structural Design Innovation ในงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2557” (Thailand Research Expo 2014) 7-11 สิงหาคม 2557 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (1 ชั่วโมง)
- วิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ก้าวสู่เทคโนโลยีแบบจำลองสารสนเทศอาคาร นวัตกรรมสำหรับวิศวกรโครงสร้าง” ในหลักสูตรวิศกรรมโครงสร้างเพื่อสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (13 – 14 มิถุนายน 2558) (6 ชั่วโมง)
- ผู้ทรงคุณวุฒิและพิจารณาผลงานวิจัย/บทความทางวิชาการฉบับเต็ม การประชุมวิชาการ ม.เกษตร ปี 2557
ภายนอก
- วิทยากรฝึกอบรม “การเขียนแบบสำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Revit เบื้องต้น” วันที่ 20 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00 – 16:00 น. ฝ่ายออกแบบและบริหารงานก่อสร้าง-วิชาการ ห้องอบรมชั้น 2 อาคารนันทนาการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (9 ชั่วโมง)
- วิทยากรบรรยาย หัวข้อ technologies for building inspection & examination การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (1 ชั่วโมง) วันที่ 18 มิถุนายน 2557 เวลา 13:00 – 14:00 น.
- ผู้ทรงคุณวุฒิและพิจารณาผลงานวิจัย/บทความทางวิชาการฉบับเต็ม วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/ผังเมือง ปีที่ 12 (เวลา 14 ชั่วโมง)
- ผู้ทรงคุณวุฒิและพิจารณาผลงานวิจัย/บทความทางวิชาการฉบับเต็ม การประชุมวิชาการ INTA-SEGA 2009 ปี 2552 (เวลา 45 ชั่วโมง)
- ผู้ทรงคุณวุฒิและพิจารณาผลงานวิจัย/บทความทางวิชาการฉบับเต็ม การประชุมวิชาการ SEGA 04 ปี 2558 (เวลา 45 ชั่วโมง)