Supaporn Kaewko Leopairojna

 

ผศ. ดร. สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์
Assist. Prof. Dr. Supaporn Kaewko Leopairojna
ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงาน: หลักสูตรการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบัณฑิต (ภาคพิเศษ) ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์   มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

โทรศัพท์ (ที่ทำงาน) (662) 942 8960-3 ต่อ 355 โทรสาร (662) 940 5413

E-mail address supaporn_k@hotmail.com, archspk@ku.ac.th

ประวัติการศึกษา

ปีที่จบ ระดับการศึกษา วุฒิการศึกษา/ประกาศนียบัตร สาขาเอก ชื่อสถาบัน ประเทศ
2535 ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) สถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ประเทศไทย
2539 ปริญญาโท M. Sc. Urban Planning สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ประเทศไทย
2550 ปริญญาเอก D. Tech. Sc. Transportation Engineering สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ประเทศไทย


ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ :
เลขที่  ภ-สถ 3289  โดยสภาสถาปนิกตามพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ.2543 ระดับ
ภาคีสถาปนิก สาขา     สถาปัตยกรรมหลัก

สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ

  • การวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม
  • การขนส่งในเขตเมือง

ประสบการณ์การทำงาน

2549 – ปัจจุบัน    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

2553- 2555        มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หัวหน้าสาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

2546-2550         สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) นักศึกษาระดับปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมขนส่ง (ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น)

2545-2546         บริษัท ไทยเอนจิเนียริ่ง จำกัด นักผังเมือง

2543-2544         บริษัท ทรานส์คอนซัลต์ จำกัด ผู้ประสานงานโครงการ

2542-2543         สถาปนิกและนักผังเมืองอิสระ

2540-2542         บริษัท เอส พี บี คอนซัลแตนท์ส จำกัด นักผังเมืองและผู้ประสานงานโครงการ

2539-2540         สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ผู้ช่วยวิจัย ภาควิชาการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์

2538-2539         สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) นักศึกษาระดับปริญญาโท ภาควิชาการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์
(ทุนสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT)- Partial)

2535-2537         บริษัท ทีค จำกัด สถาปนิก

 ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ
 หัวหน้าโครงการวิจัย : ชื่อโครงการวิจัย

  1. การส่งเสริมการเดินเท้าและการใช้จักรยานเพื่อสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขนเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว จำนวนงบประมาณ 470,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ช่วงปีรับทุน 2558-2559 ตำแหน่ง: หัวหน้าโครงการ
  2. การพัฒนาและส่งเสริมการขนส่งแบบไม่ใช้เครื่องยนต์เพื่อสนับสนุนให้เกาะสมุยเป็นแหล่งท่องเที่ยว
    สีเขียวและเมืองคาร์บอนต่ำ จำนวนงบประมาณ 240,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ช่วงปีรับทุน 2556-2557
  3. การส่งเสริมรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงค์เพื่อเป็นทางเลือกในการเดินทางที่ยั่งยืนแก่ผู้อยู่อาศัยในหมู่บ้านจัดสรรโดยรอบสถานีบ้านทับช้าง จำนวนงบประมาณ 100,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ช่วงปีรับทุน 2555-2556
  4. การวิเคราะห์การตลาดโครงการศึกษาแผนบริหารจัดการธุรกิจและปรับปรุงแผนแม่บท ศูนย์การเรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา จำนวนงบประมาณ 20,000 บาท ชื่อแหล่งทุน การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ช่วงปีรับทุน 2555
  5. การศึกษาผลกระทบด้านการจราจร โครงการส่วนต่อขยายโรงงานบริษัทแพรคติก้า จำกัด จำนวนงบประมาณ 88,000 บาท ชื่อแหล่งทุน บริษัทแพรคติก้า จำกัด ช่วงปีรับทุน 2555
  6. การรักษาปอดสีเขียวแห่งสุดท้ายของกรุงเทพฯ จำนวนงบประมาณ 120,000 บาท ชื่อแหล่งทุน การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
    บริษัทเบเยอร์ จำกัด ช่วงปีรับทุน 2554
  7. การศึกษาเพื่อฟื้นฟูและปรับปรุงรูปแบบการเดินทางที่เหมาะสมในพื้นที่บริเวณคลองโดยรอบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน จำนวนงบประมาณ 49,000 บาท ชื่อแหล่งทุน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ช่วงปีรับทุน 2551
  8. An evaluation study on the demonstration project entitled “Environmental Quality Promotion of Floating Food Vendors and the slum community on Klong Rangsit, Pathumthani, Thailand” จำนวนงบประมาณ 35,000 บาท ชื่อแหล่งทุน Asian Institute of Technology ช่วงปีรับทุน 2549
  • งานวิจัยที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
  1. การศึกษาด้านผังเมืองในโครงการวางและจัดทำผังเมืองรวมเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวนงบประมาณ 100,000 บาท ชื่อแหล่งทุน บริษัท เอสไอเอ็ม เทคโนโลจิสต์ จำกัด ช่วงปีรับทุน 2559-2560 ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง
  2. การศึกษาด้านผังเมืองในโครงการศึกษาสำรวจความต้องการการเดินทาง (Travel Demand Survey) และปรับปรุงข้อมูลการเคลื่อนย้ายสินค้า เพื่อการวางแผนระบบขนส่งของประเทศ จำนวนงบประมาณ 50,000 บาท ชื่อแหล่งทุน บริษัท เอ21 คอนซัลแตนท์ จำกัด ช่วงปีรับทุน 2560 -2561ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง
    • งานวิจัยที่ทำเสร็จแล้ว
  3. โครงการการพัฒนาย่านนวัตกรรมศรีราชา จำนวนงบประมาณ 150,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ช่วงปีรับทุน 2560-2561 ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมืองและการขนส่งแบบไม่ใช้เครื่องยนต์
  4. โครงการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะตามแนวคิดการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD) ในเขตเทศบาลนครระยอง จำนวนงบประมาณ 250,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ช่วงปีรับทุน 2559-2560 ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง
  5. การศึกษารูปแบบของอาคาร และเทคโนโลยีที่เหมาะสมในเขตพื้นที่บางกระเจ้า จำนวนงบประมาณ 280,000 บาท ชื่อแหล่งทุน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ช่วงปีรับทุน 2558-2559 ตำแหน่ง: ที่ปรึกษาโครงการ
  6. การศึกษาด้านผังเมืองและผังภาคในโครงการประเมินความน่าเชื่อถือและความยืดหยุ่นความจุของโครงข่ายทางหลวงเพื่อรองรับการขนส่งสินค้าของพื้นที่ภาคตะวันออก จำนวนงบประมาณ 50,000 บาท ชื่อแหล่งทุน กรมทางหลวง ช่วงปีรับทุน 2560 -2561 ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง
  7. บ้าน/วัด/โรงเรียน/จักรยาน (บวรจ) จำนวนงบประมาณ 1,900,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ช่วงปีรับทุน 2558-2560 ตำแหน่ง: ผู้ร่วมวิจัย
  8. โครงการรางวัลเมืองจักรยาน จำนวนงบประมาณ 80,000 บาท ชื่อแหล่งทุน มหาวิทยาลัยมหิดล ช่วงปีรับทุน 2558-2559 ตำแหน่ง: ผู้ร่วมวิจัย
  9. โครงการแผนที่เส้นทางเดินทางและท่องเที่ยวทั่วประเทศด้วยจักรยาน จำนวนงบประมาณ 200,000 บาท ชื่อแหล่งทุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ช่วงปีรับทุน 2558-2559 ตำแหน่ง:
    ผู้ร่วมวิจัย
  10. การส่งเสริมการเดินเท้าและการใช้จักรยานเพื่อสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขนเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว จำนวนงบประมาณ 470,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ช่วงปีรับทุน 2558-2559 ตำแหน่ง: หัวหน้าโครงการ
  11. การวิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่ดินและผังเมืองเพื่อคาดการณ์ปริมาณผู้โดยสารรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี และรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง จำนวนงบประมาณ 50,000 บาท ชื่อแหล่งทุน บริษัท เอ21 คอนซัลแตนท์ จำกัด ช่วงปีรับทุน 2559 ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง
  12. การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนในเขตเทศบาลนครระยอง จำนวนงบประมาณ 200,000 บาท ชื่อแหล่งทุน เงินอุดหนุนส่งเสริมการวิจัยโครงการสนับสนุนและส่งเสริมการวิจัยกลุ่มวิชาการ 17 คณะ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ช่วงปีรับทุน 2558-2559 ตำแหน่ง: ผู้ร่วมวิจัย
  13. โครงการปรับปรุงเส้นทางจักรยานชุมชนเพื่อสภาวะแวดล้อมที่ดีในเขตกรุงเทพมหานคร –กลุ่มกรุงเทพเหนือ 7 เขต จำนวนงบประมาณ 590,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ช่วงปีรับทุน 2557-2558 ตำแหน่ง: ผู้ช่วยหัวหน้าโครงการ
  14. การวิเคราะห์ด้านผังเมืองในการประยุกต์ใช้แนวคิดการเติบโตอย่างชาญฉลาดในการพัฒนาเมืองและที่อยู่อาศัย จำนวนงบประมาณ 180,000 บาท ชื่อแหล่งทุน การเคหะแห่งชาติ ช่วงปีรับทุน 2557-2558 ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง
  15. การศึกษาสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่เหมาะสมในการปรับปรุงผังเมืองรวมชุมชนเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวนงบประมาณ 50,000 บาท ชื่อแหล่งทุน บริษัท เอเซีย แพลนนิ่ง คอนซัลแทนท์ จำกัด ช่วงปีรับทุน 2555-2557 ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง
  16. การคาดการณ์ทิศทางการพัฒนาพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดินในการวางและจัดทำผังเมืองรวมจังหวัดพิษณุโลก โครงการวางและจัดทำผังเมืองรวมจังหวัดพิษณุโลก จำนวนงบประมาณ 100,000 บาท ชื่อแหล่งทุน บริษัท เอเซีย แพลนนิ่ง คอนซัลแทนท์ จำกัด ช่วงปีรับทุน 2557-2558 ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง
  17. การพัฒนาและส่งเสริมการขนส่งแบบไม่ใช้เครื่องยนต์เพื่อสนับสนุนให้เกาะสมุยเป็นแหล่งท่องเที่ยวสีเขียวและเมืองคาร์บอนต่ำ จำนวนงบประมาณ 240,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ช่วงปีรับทุน 2556-2557
  18. การประยุกต์ใช้ระบบจักรยานสาธารณะเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้อยู่อาศัยในอาคารชุดตามแนวเส้นทางระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ย่านสุขุมวิท จำนวนงบประมาณ 260,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ช่วงปีรับทุน 2555-2556 ตำแหน่ง: ผู้ช่วยหัวหน้าโครงการ
  19. การวิเคราะห์ด้านผังเมืองในโครงการศึกษาความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรม เศรษฐกิจ การเงิน เพื่อจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาโครงข่ายถนนสำหรับรถจักรยานในเขตทางพิเศษ จำนวนงบประมาณ 100,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สำนักวิจัยและบริการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ช่วงปีรับทุน 2557 ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง
  20. การศึกษาความคิดเห็นของชุมชนผู้ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างระบบโครงข่ายไฟฟ้า : กรณีศึกษาผลตอบแทนและการเยียวยาของ กฟผ. จำนวนงบประมาณ 140,000 บาท ชื่อแหล่งทุน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ช่วงปีรับทุน 2555-2557 ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
  21. การส่งเสริมรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงค์เพื่อเป็นทางเลือกในการเดินทางที่ยั่งยืนแก่ผู้อยู่อาศัยในหมู่บ้านจัดสรรโดยรอบสถานีบ้านทับช้าง จำนวนงบประมาณ 100,000 บาท ชื่อแหล่งทุน สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ช่วงปีรับทุน 2555-2556 ตำแหน่ง: หัวหน้าโครงการ
  22. การวางแผนโครงสร้างเมืองของเกาะสมุยเพื่อพัฒนาไปสู่เมืองคาร์บอนต่ำ: ชุมชนคนเดินเท้า
    จำนวนงบประมาณ 50,000 บาท ชื่อแหล่งทุน บริษัท อีอีซี เอ็นจิเนียริ่ง เน็ทเวิร์ค ผู้ได้รับทุนจาก APEC (Asia Pacific Economic Cooperation) ช่วงปีรับทุน 2555  ตำแหน่ง: หัวหน้าโครงการ
  23. การวิเคราะห์การตลาดโครงการศึกษาแผนบริหารจัดการธุรกิจและปรับปรุงแผนแม่บท ศูนย์การเรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา (2555) ตำแหน่ง: หัวหน้าโครงการ
  24. การศึกษาผลกระทบด้านการจราจร โครงการส่วนต่อขยายโรงงานบริษัทแพรคติก้า จำกัด (2555) ตำแหน่ง: หัวหน้าโครงการ
  25. การรักษาปอดสีเขียวแห่งสุดท้ายของกรุงเทพฯ (2554) ตำแหน่ง: หัวหน้าโครงการ
  26. โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยตามเส้นทางรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ช่วงบางซื่อ-มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (2554) ตำแหน่ง: ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง
  27. International Research Project on Transport and Mobility Behaviour: Changes in young people’s mobility pattern? (2553) ตำแหน่ง: ผู้ช่วยหัวหน้าโครงการ
  28. การศึกษาเพื่อฟื้นฟูและปรับปรุงรูปแบบการเดินทางที่เหมาะสมในพื้นที่บริเวณคลองโดยรอบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน (2551) ตำแหน่ง: หัวหน้าโครงการ
  29. การพัฒนาศักยภาพที่พักแบบสัมผัสวัฒนธรรมชนบทเพื่อส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยวยั่งยืน กรณีศึกษาอำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (2551) ตำแหน่ง: ผู้ร่วมวิจัย
  30. การปรับปรุงการเรียนการสอนและหลักสูตรสาขาการผังเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2550) ตำแหน่ง: ผู้ร่วมวิจัย
  31. โครงการประเมินทิศทางและแนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการบ้านเอื้ออาทร จังหวัดนนทบุรีและจังหวัดนครปฐม การเคหะแห่งชาติ (2550) ตำแหน่ง: ผู้ช่วยหัวหน้าโครงการ
  32. An evaluation study on the demonstration project entitled “Environmental Quality Promotion of Floating Food Vendors and the slum community on Klong Rangsit, Pathumthani, Thailand” (2549) ตำแหน่ง: หัวหน้าโครงการ
  33. Market Structure of the Passenger Van in Bangkok (ดุษฎีนิพนธ์) (2545-2549)
  34. โครงการศึกษาและวางผังออกแบบชุมชนพื้นที่พัฒนาพิเศษเขตเศรษฐกิจใหม่ พระราม3 สำนักผังเมือง กทม. (2545)  ตำแหน่ง : นักผังเมือง
  35. โครงการจัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาแผนงาน บุคลากร และสื่อการเรียนการสอนเรื่องการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้องปลอดภัยสำหรับเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้เงินกู้จากธนาคารพัฒนาเอเซีย พ.ศ. 2543 ตำแหน่ง : ผู้ประสานงานโครงการ
  36. การศึกษาความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ วิศวกรรม และผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายเชียงใหม่-เชียงราย กรมทางหลวง (2542) ตำแหน่ง : นักผังเมือง
  37. โครงการศึกษาสำรวจกำหนดแนวทางอนุรักษ์และปรับปรุงสภาพแวดล้อมเมืองเก่าลำปาง, สำนักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม (2542) ตำแหน่ง : สถาปนิกและนักผังเมือง
  38. การทบทวนงานศึกษาด้านการจราจรโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายบางใหญ่-บ้านโป่ง (2542) ตำแหน่ง : นักผังเมือง
  39. การจัดการจราจรและขนส่ง การแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 13 (BAGOC) สจร. (2541) ตำแหน่ง : นักผังเมืองและผู้ประสานงานโครงการ
  40. โครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนแม่บทเพื่อพัฒนาระบบการจราจรและขนส่งในจังหวัดปริมณฑลสจร. (2541) ตำแหน่ง : นักผังเมือง
  41. โครงการศึกษาการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง สจร. (2540) ตำแหน่ง : นักผังเมือง
  42. ชื่อโครงการ โครงการพื้นที่ปิดล้อมขนาดใหญ่ 20 บริเวณ : Bangkok Superblock Study สจร. (2540) ตำแหน่ง : นักผังเมืิอง

     งานแต่งและเรียบเรียง

  • Leopairojna, Supaporn K., Pantasen, T., Bart Lambregts, and Suebsiri, P. 2017. “Enhancing Transportation Safety for Children in Thailand by Introducing Bicycle Training Grounds.” Proceeding in The 22nd International Conference of Hong Kong Society for Transportation Studies, 9-11 Devember, 2017. Hong Kong.
  • Leopairojna, Supaporn K., Bart Lambregts, and Chaweewan Denpaiboon. 2017. “Promoting Cycling with Help of Participatory Mapping on Samui Island, Thailand.” Spaces and Flows: An International Journal of Urban and ExtraUrban Studies 8 (3): 15-34. doi:10.18848/2154-8676/CGP/v08i03/15-34.
  • ทวิรญา เพ็ญประทุม และ สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. 2560. “การกำหนดจุดทิ้งของเสียอันตรายจากบ้านพักอาศัยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน: กรณีศึกษา ชุมชนอยู่รวย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร”. Proceeding in งานประชุมวิชาการ ประจำปี 2560 (Built Environment Research Associates Conference 8). 21 กรกฎาคม ปทุมธานี.
  • สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. 2559. การส่งเสริมการเดินเท้าและการใช้จักรยานในมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บางเขน. การประชุมประจำปีเครือข่ายมหาวิทยาลัยยั่งยืนแห่งประเทศไทย “แนวทางสู่ความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย” ครั้งที่ 28-29 พฤศจิกายน 2559. นครปฐม.
  • สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. 2559. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและการเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง: บทเรียนจากสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ บ้านทับช้าง กรุงเทพฯ. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน) ประจำปี 2559. หน้า 153-172.
  • Panthasen, T.; Leopairojana, S.K.; and Lambregts, B. (2016) “Promoting Cycling for Daily Mobility in Bangkok: Challenges and Ways Forward” in The 7th Asian Conference on Social Sciences (ACSS2016), organized by The International Academic Forum (IAFOR) in conjunction with its global partners, at Art Center of Kobe, Kobe, Japan, June 9 – 12, 2016. (Oral Presentation).
  • ธนภณ พันธเสน, ฐาปนา บุณยประวิตร, และสุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. “การออกแบบการใช้ที่ดินและอาคารกลุ่มพาณิชยกรรมผสมผสานที่อยู่อาศัยและสถานที่สาธารณะพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ” ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการผังเมืองครั้งที่ 3 ปี 2559, จัดโดย สมาคมการผังเมืองไทย และองค์กรอื่น ๆ.
  • Ratchot Chompunich and Supaporn K. Leopairojna. 2016. “Paving the Way to a Green Campus: Kasetsart University”. Proceeding of International Workshop on UI GreenMetric 2016: Fostering Sustainable Culture in Global Universities, 21st April, 2016., Indonesia.
  • สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์, ธนภณ พันธเสน, พัฑรา สืบศิริ, และ บาธ ลัมเบร็กส์. 2559. การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนาเส้นทางจักรยานในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพฯ เหนือ. การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 54 – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 3 กุมภาพันธ์ กรุงเทพฯ
  • สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. การส่งเสริมการใช้จักรยานเพื่อเข้าสู่สถานีระบบขนส่งมวลชนแบบราง – กรณีศึกษาสถานีบ้านทับช้าง. การประชุมวิชาการ “เดิน-จักรยาน” ครั้งที่ 2. 28 กุมภาพันธ์ 2557. กรุงเทพฯ
  • – นุกูลกานต์ เชิงสะอาด และสุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. การระบุจุดเสี่ยงอันตรายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันอุบัติภัยทางถนนในพื้นที่บางกะเจ้า จังหวัดสมุทรปราการ. การประชุมวิชาการ “เดิน-จักรยาน” ครั้งที่ 2. 28 กุมภาพันธ์ 2557. กรุงเทพฯ
  • – สมภาพ สุวรรณกวีการ และสุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. การส่งเสริมการใช้จักรยานสำหรับนักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการ “เดิน-จักรยาน” ครั้งที่ 2. 28 กุมภาพันธ์ 2557” กรุงเทพฯ
  • – Supaporn Kaewko Leopairojna, Salila Trakulvech, and Supanita Mancharern. 2013. Improving Access to a Mass Transit Station in Suburb of Bangkok. Proceeding in 10th International Conference of Eastern Asia for Transportation Studies (EASTS2013). Taipei, Taiwan. 9-12 September, 2013.
  • – สุทธิกานต์ ท่วงที และ สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยเส้นทางชมวิวทิวทัศน์กรณีศึกษา ถนนเฉลิมบูรพาชลทิตช่วงอำเภอแกลง จังหวัดระยอง. การประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 (8-10 พฤษภาคม 2556). เชียงใหม่.
  • – ปิยวรรณ จารุภุมมิก และ สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. การกำหนดเส้นทางที่สั้นที่สุดสำหรับการระงับอัคคีภัยโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ : กรณีศึกษาสถานีดับเพลิงดาวคะนอง กรุงเทพมหานคร. Proceeding in งานประชุมวิชาการ ประจำปี 2556 (Built Environment Research Associates Conference 4). 23 พฤษภาคม 2556. ปทุมธานี
  • Supaporn Kaewko Leopairojna and Bart Lambregts. 2012. Saving Bangkok’s last green lung by way of urban ecotourism. Proceeding in EURA2012 Conference. Vienna. 20-22 September, 2012.
  • สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์, 2555. “การปรับปรุงการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนของชุมชนในพื้นที่บริเวณคลองโดยรอบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน” วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/ผังเมือง ปีที่ 8 ฉบับการผังเมือง การพัฒนาที่อยู่อาศัยและอสังหาริมทรัพย์ และภูมิสถาปัตยกรรม
  • กวินทรา ภู่ระหงษ์ และ สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. , การส่งเสริมการเข้าถึงสถานีรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ (BRT) โดยการเดินทางแบบไม่ใช้เครื่องยนต์ ในพื้นที่เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 16 (14-16 พฤษภาคม 2554), พัทยา.
  • สุวลักษณ์ นาคยา และ สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. , การใช้ข้อมูลดาวเทียมและการวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 49 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (1-4 กุมภาพันธ์ 2554), กรุงเทพมหานคร.
  • Leopairojna, S. K. and Trakulvech, S., Application of Public-use Bike System in Kasetsart University, Bangkhen Campus: Research and Reality. Journal of Society for Transportation and Traffic Studies. Vol. 2 No. 1, March 2011, The Future of Human Mobility; Special Issues: Non- motorized Transportation, 56-73.
  • Leopairojna, S. K. and Trakulvech, S., Application of Public-use Bike System in Kasetsart University, Bangkhen Campus: Research and Reality. The First International Conference of the Thai Society for Transportation Studies on ‘the Future of Human Mobility’ (22-23 January 2010), Phuket.
  • กนกพร สายเขียว และ สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์., การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร กรณีศีกษา โครงการไม้ดอกไม้ประดับ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี. Proceeding in งานประชุมวิชาการ ประจำปี 2553 (Built Environment Research Associates Conference 1). พฤษภาคม 2553. ปทุมธานี
  • ปิยะลักษณ์ ศิรประภาธรรม และ สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์., การแก้ปัญหาการจราจรติดขัดจากการท่องเที่ยวในกรุงรัตนโกสินทร์. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 47 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (17-20 มีนาคม 2552), กรุงเทพมหานคร.
  • สลิลา ตระกูลเวช และ สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์, แนวทางการใช้ระบบจักรยานสาธารณะในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 47 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (17-20 มีนาคม 2552), กรุงเทพมหานคร.
  • ปนัดดา เยาวยัง และ สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์, การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดเส้นทางที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก กรณีศึกษาชุมชนบ้านฝั่งกระโจมไฟ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร. การประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 13 (14-16 พฤษภาคม 2551), พัทยา.
  • สลิลา ตระกูลเวช และ สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์, การประยุกต์ใช้ระบบจักรยานสาธารณะในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน. การประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 13 (14-16 พฤษภาคม 2551), พัทยา.
  • Leopairojna, S. K. and Hanaoka, S., Benefits of the Passenger Van entry Deregulation in Bangkok. การประชุมวิชาการ การขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 4 (23 พฤศจิกายน 2550), จังหวัดเชียงใหม่
  • Hanaoka, S. and Leopairojna, S. K., Public transport in Bangkok: A case of the passenger vans. 6th International Symposium on New Technologies for Urban Safety of Mega Cities in Asia (USMCA 2007), Dhaka
  • Leopairojna, S. K. and Hanaoka, S., Reconsidering the Public Transport Regulations: A case of the Passenger Vans in Bangkok. Asian Profile. Vol. 35, No. 5, pp. 429-442
  • Leopairojna, S. K. and Hanaoka, S., 2006 Market Analysis of Passenger Vans in Bangkok. Competition and Ownership in Land Passenger Transport, Proceedings of the 9th International Conference on Competition and Ownership (Thredbo 9), Elsevier, pp303-329.
  • Leopairojna, S. K. and Hanaoka, S., 2006 Entry of the passenger vans in Bangkok: Regulation or deregulation?, International Seminar on Public Transportation, Department of Transportation Engineering in the University of Seoul, pp.27-43.
  • Leopairojna, S. K. and Hanaoka, S., Market Structure of Passenger Vans in Bangkok. Journal of the Eastern Asia Society for Transportation Studies, vol. 6, 4192 – 4204.
  1. งานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท หลักสูตรการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบัณฑิต
    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

    1. นางสาวสลิลา ตระกูลเวช (2552) การใช้ระบบจักรยานสาธารณะในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
    2. นางสาวปนัดดา เยาวยัง (2552) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดเส้นทางที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก กรณีศึกษาชุมชนบ้านฝั่งกระโจมไฟ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
    3. นางสาวปิยะลักษณ์ ศิรประภาธรรม (2553) การแก้ปัญหาการจราจรติดขัดจากการท่องเที่ยวในกรุงรัตนโกสินทร์
    4. นางสาวสุวลักษณ์ นาคยา (2555) การใช้ข้อมูลดาวเทียมและการวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
    5. นางสาวกวินทรา ภู่ระหงษ์ (2555) การส่งเสริมการเข้าถึงสถานีรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ (BRT) โดยการเดินทางแบบไม่ใช้เครื่องยนต์ ในพื้นที่เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร
    6. นางสาวกนกพร สายเขียว (2555) การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร : กรณีศึกษา โครงการไม้ดอกไม้ประดับ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
    7. นางสาวปิยวรรณ จารุภุมมิก (2557) การกำหนดเส้นทางที่สั้นที่สุดสำหรับการระงับอัคคีภัยโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ : กรณีศึกษาสถานีดับเพลิงดาวคะนอง กรุงเทพมหานคร.
    8. นางสาวสุทธิกานต์ ท่วงที (2557) การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยเส้นทางชมวิวทิวทัศน์ กรณีศึกษา ถนนเฉลิมบูรพาชลทิต ช่วงอำเภอแกลง จังหวัดระยอง
    9. นายสมภาพ สุวรรณกวีการ (2558) การส่งเสริมการใช้จักรยานสำหรับนักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กรุงเทพมหานคร
    10. นายนุกูลกานต์ เชิงสะอาด (2559) การระบุจุดเสี่ยงอันตรายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันอุบัติภัยทางถนนในพื้นที่บางกะเจ้า จังหวัดสมุทรปราการ.
    11. นางสาวทวิรญา เพ็ญประทุม (2560) การกำหนดจุดทิ้งของเสียอันตรายจากบ้านพักอาศัยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน: กรณีศึกษา ชุมชนอยู่รวย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร
  1. เอกสารประกอบการสอน

ปริญาตรี       วิชา 01240461 สถาปัตยกรรมยั่งยืน

ปริญาโท      วิชา 01246511 เทคนิคการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม

วิชา 01246511 การวางแผนการใช้ที่ดินและโครงสร้างพื้นฐานอย่างยั่งยืน

  1. รางวัลหรือประกาศเกียรติคุณ
    –     รางวัลบทความวิจัยด้านพัฒนบริหารศาสตร์ชมเชย ระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท เรื่อง “แนวทางการใช้ระบบจักรยานสาธารณะในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน” โดย สลิลา ตระกูลเวช และสุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์ เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ครบรอบ 44 ปี
    –     รางวัลชมเชย สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ เรื่อง “แนวทางการใช้ระบบจักรยานสาธารณะในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน” โดย สลิลา ตระกูลเวช และ สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 47 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (17-20 มีนาคม 2552), กรุงเทพมหานคร.
    –     รางวัลบทความดีเด่น “Benefits of the Passenger Van entry Deregulation in Bangkok” การประชุมวิชาการ การขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 4 (23 พฤศจิกายน 2550), จังหวัดเชียงใหม่